บทที่ 5 วัฏจักร (วงจรชีวิต) การพัฒนาระบบการจัดการความรู้

Conventional System Life Cycle วงจรชีวิตการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมเริ่มต้นจาก 

ขั้นตอนที่ Recognition of Need and Feasibility Study 
การกำหนดความต้องการของระบบ
ขั้นตอนที่ Functional Requirements Specifications 
กำหนดคุณสมบัติความต้องการ การทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่ Logical Design (master design plan) 
การออกแบบเชิงตรรกะของระบบทั้งหมด(ในกระดาษ)
ขั้นตอนที่ Physical Design (coding) 
การออกแบบเชิงกายภาพ(การสร้างระบบขึ้นมาเอง)
ขั้นตอนที่ Testing 
การทดสอบระบบ
ขั้นตอนที่ Implementation (file conversion, user training) 
การนำระบบไปใช้งาน
ขั้นตอนที่ Operations and Maintenance 
การดำเนินงานและบำรุงรักษา



KM System Life Cycle วงจรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้

ขั้นตอนที่ Evaluate Existing Infrastructure 
การประเมินโครงสร้างพื้นฐานของระบบที่มีอยู่
System justifications : พิจารณาจากคำถามต่อไปนี้
มีความรู้อะไรไหมที่มันจะหายไปจากการเกษียณอายุ หรือการเปลี่ยนหน่วยงาน หรือการออกจากที่ทำงานที่เดิมไปอยู่ที่ทำงานใหม่
ระบบ KM ที่นำมาเสนอต้องเอามาใช้ในหลายๆฝ่ายหรือไม่
ผู้เชี่ยวชาญมีอยู่เพียงพอหรือป่าวมีความตั้งใจที่อยากจะช่วยในการสร้างระบบ Km ขึ้นมาหรือป่าว
ปัญหาต่างๆที่ต้องการคำตอบต้องใช้เวลาหลายปีในการตอบหรือป่าว

The Scope Factor:
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องการพิจารณา
ต้องพิจารณาในเชิงลึกและกว้างของโครงการในเรื่องของการเงิน ทรัพยากรบุคคล และเงื่อนไขการปฏิบัติ
โปรเจค เป็นโปรเจคเร่งด่วนหรือป่าว
ตรวจสอบให้เห็นถึงเทคโนโลยีแมตกับเทคโนโลยีKMที่เราต้องการได้หรือป่าว

ขั้นตอนที่ Form the KM Team  
การจัดตั้งทีมงานจัดการความรู้
- ระบุผู้ที่เกี่ยวและความสำคัญของการพัฒนาระบบ KM
- ทีมจะประสบความสำเร็จจะขึ้นอยู่กับ ความสามารถของคนในทีม, ขนาดของทีม ที่จะประสบความสำเร็จต้องมี 7 คน, ความซับซ้อน, ภาวะผู้นำ สามารถสั่งลูกน้องได้และเป็นแรงจูงใจของทีมว่าทีมมีแรงจูงใจมากน้อยขนาดไหน และทีมนั้นจะต้องไม่ไปสัญญาอะไรเกินเลยมากไปกว่าสิ่งที่จริงของระบบที่เราจะส่งมอบ

ขั้นตอนที่ Knowledge Capture 
การรวบรวมความรู้มาเก็บไว้เพื่อที่จะเอาข้อมูลความรู้เหล่านี้เข้าสู่ระบบ
Explicit การดึงความรู้จากสื่อที่หลากหลายหรือแหล่งความรู้ต่างๆๆ
Tacit การดึงความรู้จากผู้เชี่ยวชายองค์กรโดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย

ขั้นตอนที่ Design KMS Blueprint  
การออกแบบพิมพ์เขียวของการจัดการความรู้
ขอบเขตที่ต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับ
มีการตัดสินใจบนองค์ประกอบของความต้องการของระบบ
การพัฒนาระดับชั้นท่ำคัญของสถาปัตยกรรมของระบบ Km
- ระบบจะต้องมีความสามารถใช้งานระหว่างโครางสร้างพื้นฐานที่แตกต่างกัน

Layers of KM Architecture ระดับชั้นของสถาปัตยกรรม KM


ชั้นที่ 1 User Interface
ระดับบนคือระดับที่ติดต่อกับผู้ใช้ เห็นในรูปแบบของ เว็บไซต์
- มีความถูกต้อง ไม่ว่าประมวลผลกี่ครั้งก็จะได้แบบนั้น มองเห็นได้ชัดเจน มันสามารถใช้งานได้ง่าย มีลิงค์เป็นเครื่องนำทาง และง่ายต่อผู้ใช้
- มีการทดสอบความสามารถในการใช้งานโดยผู้ใช้งานจริงๆและเป็นการทดสอบสุดท้ายและยอมรับระบบ

ชั้นที่ 2 Authorized access control
การควบคุมสิทธิ์ในการเข้าถึง( การใส่พาสเวิร์ด )
- การรักษาความมั้นคงปลอดภัย เพื่อให้แน่ใจว่าสิทธิในการเข้าถึงไปยังแหล่งเก็บความรู้ที่อยู่ในแหล่งเก็บข้อมูลข้องบริษัทว่ามันได้รับสิทธิในการเข้าถึง
- การกำหนดสิทธิการเข้าถึงจะกำหนดที่จุดเชื่อมต่อแอสเซสพ้อย อินทราเน็ท กับเอ็กซ์ทราเน็ต

ชั้นที่ 3 Collaborative intelligence and filtering
การทำงานร่วมกันของส่วนกรองข้อมูล



ชั้นที่ 4 Knowledge-enabling applications

แอปพลิเคชั่นต่างๆที่ทำงานเกี่ยวกับระบบการจัดการความรู้(เช่น วิดีโอคอนเฟอร์เรนท์)
- แอปพลิเคชั่นจะจัดการกับฐานความรู้ มันสามารถที่จะจัดการเกี่ยวกับเครื่องมือต่างๆที่เอามาใช้ได้โดยอัติโนมัติ
- เป้าหมายสุดท้ายต้องการแสดงให้เห็นว่าการแบ่งปันความรู้แลกเปลี่ยนความรู้ทำให้ผลการปฏิบัติงานของพนักงานได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น

ชั้นที่ 5 Transport 

ชั้นนำส่งข้อมูล ประกอบไปด้วย โปรโตคอล
- ประกอบไปด้วย แลนด์ แวนด์ คือเทคนิคของเครือข่าย
- ภายในองค์กรมีการเชื่อมต่อเครือข่ายที่เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ร่วมกันได้
- ประกอบด้วยมัลติมีเดีย การตั้งชื่อเว็บไซต์ ต้องเป็นชื่อที่จำง่าย เรื่อง กราฟฟิค ความเร็วในการเชื่อมต่อ ความกว้างของช่องสัญญาณในการติดต่อ

ชั้นที่ 6 Middleware 

ซอฟแวร์ที่มาช่วยทำให้การทำงานของแอปพลิเคชั่นกับเครือข่ายมันสามารถติอต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- นักออกแบบระบบควรจะกำหนดฐานข้อมูล และ โปรแกรมประยุกต์ซึ่งระบบจัดการความรู้จะต้องการทำการติดต่อด้วย
- ทำให้มันมีความเป็นไปได้ที่จะเชื่อมต่อระหว่างข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบเดิมและข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างใหม่สามารถติดต่อ ใช้งาน ร่วมกันได้

ชั้นที่ 7 The Physical Layer 

เป็นชั้นของสายสื่อสารและเป็นแหล่งเก็บข้อมูล
- แสดงให้เห็นถึงของชั้นทางกายภาพที่เป็นที่อยู่เป็นแหล่งเก็บข้อมูลและโปรแกรมขององค์กรที่ทำการติดตั้งอยุ่
- ประกอบไปด้วยคลังข้อมูล โปรแกรมประยุกต์เดิม ฐานข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และ โปรแกรมประยุกต์พิเศษที่ใช้สำหรับเรื่องความมั่นคงปลอดภัย จัดการจราจรของข้อมูล


ขั้นตอนที่ Verify and validate the KM System 
การสร้างระบบขึ้นมา แล้วตรวจสอบว่าระบบมีความเหมาะสมหรือไม่ 
- ตรวจสอบความเหมาะสมของระบบเพื่อให้แน่ใจว่าระบบมีฟังค์ชั่นการทำงานที่ถุกต้องเหมาะสม
- วิธีการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าระบบได้ผลลัพธ์การประมวลผลที่ถูกต้อง
- ตรวจสอบความผิดพลาดที่ไม่ได้เกิดจากความประมาทเลินเล่อ
  
ขั้นตอนที่ 6 Implement the KM System 
การเอาระบบ KM ไปใช้
- การนำไปปฏิบัติงานจริงๆในระบบ KM ใหม่และทำได้จริง
- การเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปของข้อมูลหรือไฟล์
- การอบรมผู้ใช้งาน

การประกันคุณภาพของระบบ
- Reasoning errors ความผิดพลาดเชิงเหตุเชิงผล
- Ambiguity ตรวจถึงความคุมเครือ
- Incompleteness อะไรที่ไม่สมบูรณ์ต้องไปแก้ให้สมบูรณ์
- False representation (false positive and false negative) ตรวจความผิดพลาดในลักษณะ false - --- positive เราตรวจแล้วมันถูกแต่จริงๆแล้วมันผิด มาจากการที่เขียนโปรแกรมผิด false negative เราตรวจแล้วมันให้คำตอบว่าผิดแต่จริงๆแล้วมันถูก


ขั้นตอนที่ 7 Manage Change and Rewards Structure 
การจัดการของการเปลี่ยนแปลงและขั้นตอนการของการให้รางวัล
- ต้องการลดแรงต่อต้านจากผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ใช้หรือจากผู้ที่ก่อกวนให้เกิดปัญหา
          Experts
          Regular employees (users)
          Troublemakers
- แรงต้านทานนี้แสดงออกมาจากการโต้ตอบเช่น การกำหนดพาสเวิร์ดที่ไม่ปฏิบัติ (พาสเวิร์ดยุ่งยาก)หรือหลีกเลี่ยง

ขั้นตอนที่ 8 Post-system evaluation  
การประเมินผลหลังจากที่เอาระบบไปใช้แล้ว
- ประเมินผลกระทบของระบบในแง่ของผลกระทบต่อ บุคคล  วิธีการปฏิบัติหรือผลการดำเนินงานของธุรกิจ
          People
          Procedures
          Performance of the business
- ขอบเขตที่เราต้องพิจารณา ผลลัพธ์ของการระบบไปใช้ทำให้เราได้ความรู้ในการตัดสินใจได้ดีขึ้น
          ต้องใช้การตัดสินใจที่มีคุณภาพทำให้เราแก้ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้
          ดูจากทัศนคติของผู้ใช้งาน( อาจจะดีหรือไม่ดีก็ได้)
          ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากต้นทุน ที่เกิดจากการนำระบบไปใช้และไปประมวลรวมต้นทุนที่เกิดจากการปรับระบบให้ทันสมัยมากขึ้น

Key Differences ความแตกต่างที่สำคัญของระบบทั้ง 2 แบบ

- นักวิเคราะห์ระบบมีการจัดการกับสารสนเทศจากผู้ใช้ ส่วนนักพัฒนาความรู้จะจัดการความรู้ที่มาจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
ผู้ใช้ รู้ปัญหาแต่ไม่รู้ทางแก้ แต่กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจะรู้ทั้งปัญหาและทางแก้ไข
วงจรการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมSLC โดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนการเรียงลำดับแต่ถ้า KM SLC การพัฒนาแบบเพิ่มพูลคือการเพิ่มไปทีละส่วนทีละส่วนและมีลักษณะการโต้ตอบ
การทดสอบระบบโดยปกติแล้วจะกระทำในขั้นตอนสุดท้ายของวงจรแต่ถ้าเป็น KM System จะเข้าไปเกี่ยวของการทดสอบตั้งแต่เริ่มต้นของวงจรการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมขับเคลื่นด้วยกระบวนการ หรือ เรียกอีกคำว่า มีการกำหนดความต้องการเสร็จแล้วสร้างมันขึ้นมา แต่  KM System วงจรชีวิตของ KM จะมุ่งเน้นถึงผลลัพธ์ จะต้องได้ระบบแบบนี้ขึ้นมาใช้ มีการเริ่มต้นแบบช้าๆแต่เติบโตไปเรื่อยๆ


Key Similarities ข้อเหมือนกันที่สำคัญของ 2 ระบบ

- ทั้ง 2 ระบบเริ่มต้นจากปัญหาและไปจบที่ทางแก้
ทั้ง 2 ระบบเริ่มต้นจากการเก็บรวบรวมสารสนเทศ
การทดสอบมีความสำคัญเหมือนกันเพื่อให้แน่ใจว่าระบบทำงานได้ถูกต้องได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง มันเป็นระบบที่เหมาะสม
- ผู้พัฒนาระบบทั้ง 2 แบบมักจำเลือกเครื่องมือที่เหมาะหลายๆเครื่องมือมาใข้การออกแบบระบบที่คาดหวังหรือระบบที่ต้องการ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น